Silpakorn University, Bangkok
Faculty of Music
Postgraduate Degrees in Conducting
The International Department of Conducting at Silpakorn University offers two postgraduate programmes in conducting:
- Master of Music (Music Research and Development) in Conducting (Commencing in August 2018)
- Doctor of Music (Music Research and Development) in Conducting (Commencing at the latest in August 2019)
[divider]Objectives
[/divider]
The Postgraduate Conducting Programmes aim to nurture highly competent, and versatile conductors who can participate in a broad range of musical activities, as well as fostering musicians who demonstrate excellent artistic skills and outstanding leadership qualities.
[divider]Programme Outline and Content
[/divider] [column size=one_quarter position=first ]
[column size=three_quarter position=last] The Postgraduate Conducting Programmes are open to students of any nationality. All teaching, admission procedures, and written work are in English. It is therefore expected that all students, of whichever nationality, have a good basic grasp of the English language. The final thesis may be written in the students’ native language and presented in translation in to English.
The Masters Degree Programme lasts generally for two years (four semesters) on a module basis, with five modules of 10-14 days duration in each academic year. Students are required to attend all ten modules during the two-year programme. It is expected that students will undertake the assignments and study goals between the modules.
Students who successfully complete the Masters Programme may be admitted to the Doctoral Programme. Alternatively, suitably qualified students may apply for the Doctoral Programme directly. The teaching in the Doctoral Programme follows the same module structure as the Masters Programme. The duration is, however, decided on an individual basis.
In each module students will receive practical conducting experience (podium time) and tuition with symphony and chamber orchestras, ensembles, wind orchestra and pianos. In addition there will be individual and class lessons on repertoire, analysis, conducting technique, score reading, and rehearsal skills.
The focus of the Masters Programme is on the keystone symphonic repertoire from the Classical period to the 20th Century. Music for wind orchestra and chamber ensemble, as well as opera and contemporary music will supplement this. Moreover, emphasis will be accorded to the study of the historical and cultural context of the music. The Doctoral Programme will involve more extended repertoire at a higher level and may involve specialisation in a particular musical field. [/column]
[divider]Assesment, Examination & Thesis[/divider] [column size=one_quarter position=first ] [/column] [column size=three_quarter position=last] For students in the Masters Programme, Module 5 in each academic year, usually in May/June, will include examinations: intermediary at the end of the 1st year, and final (concert exams) at the end of the 2nd year. The assessment of Doctoral students will be decided on an individual basis but also include final concert exams, and may include concert activity during the period of study.
In both the Masters and Doctoral Programmes a written thesis, based on research on an approved subject, is part of the final assessment. In the case of the Masters, this will be submitted at the end of the two-year programme. In the case of the Doctoral thesis, for which a more advanced academic and specialized approach is expected, an individual time frame will be agreed. [/column][divider]Faculty[/divider]
Various orchestras and ensembles within Silpakorn University, professional orchestras outside the University, as well as staff pianists from the Music Faculty will be at the disposal of the Conducting Programme.Director of the Conducting Programmes is Douglas Bostock. Masterclasses and workshops by other teaching staff and visiting conductors may also be included in the programmes.
[divider]Application, Auditions and Fee [/divider]
The closing date for application for both the Masters and Doctoral programmes is early January of the year of proposed entry. The auditions take place in Bangkok, usually in February. The exact dates will be published annually in September.
Application is made by application form. In addition, diplomas, references, a list of conducted and studied repertoire, video links showing the applicant conducting, and any other relevant material will accompany the application.
The auditions will include conducting piano(s) and/or an ensemble (the repertoire will be announced about four months before the audition, usually by the end of October), examination in music theory, aural perception of music (solfège) and music history, and an interview with a panel led by Douglas Bostock. Candidates may be exempt from the examination in music theory, aural perception of music (solfège) and music history if they already have a Bachelors degree in music or equivalent. Details must be submitted for approval at the time of application.
https://docs.google.com/forms/d/1Ht98vX7sKGdZ4JpjNj5w-I34tgiUGpvteR9O7qlvG7Q/edit
Application for the Masters programme starting in September 2018 will be open from 11th September 2017. The deadline for applications is 7th January 2018. Auditions will take place on 15th February 2018.
The fee for the complete two-year Masters Programme is THB 260’000, payable in four instalments of THB 65’000 at the beginning of each semester.
The postgrad applicants who have a B.Mus. or equivalent qualification don’t need to take any test in theory/harmony/history/aural but must document the copy of degree to apply. In case of the applicant who has not got such a degree or equivalent must take an paper examination on music theory/harmony/history/aural test in Bangkok one day prior to the conducting audition.
The repertoire for the audition are:
1.Stravinsky’s Octet for Wind Instruments
2.Brahms’ Academic Festival Overture with two pianists
Module dates for private lesson, group study and poduim time with Maestro Douglas Bostock:
module 1: 29 August – 11 September 2018
module 2: 21 November – 4 December 2018
module 3: 23 January – 5 February 2019
module 4: 18 – 31 March 2019
module 5 (including exams): 13 – 26 May 2019
[divider]Douglas Bostock
Director of the International Department of Conducting [/divider] [column size=three_quarter position=first ]
Maestro Bostock has appeared extensively with leading orchestras in most countries on the European continent, as well as in Asia, and on the American Continent, such as the BBC Orchestras, the London Philharmonic, Royal Philharmonic, Prague Radio Symphony, Prague Symphony, Aarhus and Odense Symphony, New Japan Philharmonic, Nagoya Philharmonic, Kyoto and Sapporo Symphony, Japan Century, Orchestra Ensemble Kanazawa, Calgary Symphony, Kansas City Symphony, National Chamber Orchestra, to name but a few.The British conductor Douglas Bostock is Principal Conductor of the Argovia Philharmonic in Switzerland (since 2001) and Music Director of the Hallwyl Opera Festival (since 2003). He has held positions with the Karlovy Vary Symphony Orchestra (Principal Conductor), the Czech Chamber Philharmonic (Principal Guest Conductor), the Munich Symphony Orchestra (Principal Guest Conductor), The Southwest German Philharmonic (Regular Guest Conductor), and Tokyo Kosei Wind Orchestra (Principal Conductor and Principal Guest Conductor).
A prolific recording artist, Douglas Bostock has over 100 CDs to his name, reflecting his diverse and extensive repertoire, and including many less well-known and previously unrecorded works. His major recording cycles of the complete orchestral music of Carl Nielsen and the symphonies of Robert Schumann as well as the extensive British Symphonic Collection have won particular international acclaim.
Maestro Bostock is well known as a dedicated teacher of conducting. He has been Guest Professor in the conducting and opera departments at Tokyo University of the Arts, where he has a long-standing relationship. His conducting master classes in many countries are widely acclaimed and enjoy great popularity. Furthermore, keenly embracing the challenge of working with young musicians, he is frequently invited to conduct at music colleges in Europe and Asia, and is Visiting Professor at Senzoku Gakuen College of Music in Japan. [/column] [column size=one_quarter position=last ] [/column] www.douglasbostock.net
[divider]หลักสูตรบัณฑิตศึกษา กลุ่มวิชาเลือกการอำนวยเพลง
คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร [/divider]
กลุ่มวิชาเลือกการอำนวยเพลง หลักสูตรนานาชาติ เปิดสอนสาขาวิชาการอำนวยเพลง สำหรับหลักสูตรบัณฑิตศึกษาดังนี้
- ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (สังคีตวิจัยและพัฒนา) กลุ่มวิชาเลือกการอำนวยเพลง (เปิดรับสมัคร สิงหาคม 2561)
- ดุริยางคศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สังคีตวิจัยและพัฒนา) กลุ่มวิชาเลือกการอำนวยเพลง (เปิดรับสมัคร สิงหาคม 2562)
[divider]วัตถุประสงค์สำคัญ[/divider]
หลักสูตรบัณฑิตศึกษา กลุ่มวิชาเลือกการอำนวยเพลงมุ่งหวังที่จะหล่อหลอมวาทยกรให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะขั้นสูงเพื่อใช้ในการประกอบอาชีพและร่วมงานในระดับสากล รวมถึงเน้นสร้างและสนับสนุนให้มีความรู้และความเชี่ยวชาญที่เป็นเลิศในด้านดนตรีและการเป็นผู้นำที่ดีควบคู่กันไป
[divider]โครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตร[/divider]
หลักสูตรบัณฑิตศึกษา กลุ่มวิชาเลือกการอำนวยเพลง ใช้ภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตรตั้งแต่กระบวนการเปิดรับสมัครจนถึงการเรียนการสอนทั้งหมด จึงเปิดรับนักศึกษาไทยและนักศึกษานานาชาติที่มีทักษะทางภาษาอังกฤษดีเข้าร่วมหลักสูตร
ระยะเวลาการศึกษาจนสำเร็จหลักสูตรคือ 2 ปี (4 ภาคการศึกษา) การเรียนจะถูกแบ่งเป็น 5 ช่วงเวลาต่อปีการศึกษา ในแต่ละช่วงเวลาจะใช้เวลาประมาณ 10 – 14 วัน (ใช้ระบบการเรียนการสอนแบบ module system)
นักศึกษาต้องเข้าเรียนทั้ง 10 ช่วงเวลาตลอดหลักสูตร 2 ปี และต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมและโครงงานที่ได้รับมอบหมายจากอาจารย์ในระหว่างคาบเรียนทั้งหมดและครบถ้วน
นักศึกษาที่สำเร็จหลักสูตรระดับมหาบัณฑิตสามารถสมัครเข้าเรียนต่อในหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตได้ โดยตรงหากมีคุณสมบัติที่บัณฑิตวิทยาลัยกำหนดไว้ครบถ้วน โครงสร้างหลักสูตรระดับดุษฎีบัณฑิตเป็นไปตามหลักสูตรระดับมหาบัณฑิต โดยระยะเวลาการศึกษาขึ้นอยู่กับรายบุคคล ซึ่งจะมีรายละเอียดเพิ่มเติมในอนาคตให้ทราบโดยทั่วกันต่อไป
ในแต่ละช่วงเวลาเรียน นักศึกษาจะได้รับประสบการณ์ในการอำนวยเพลงที่สามารถนำไปใช้ได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ ได้เรียนรู้เกี่ยวกับวงซิมโฟนี ออร์เคสตรา เครื่องเป่าและ เปียโน อีกทั้งยังได้เพิ่มทักษะและความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์บทประพันธ์ เทคนิคการอำนวยเพลง การอ่านโน้ตเพลง และการซ้อมการแสดง
นอกจากนี้หลักสูตรมหาบัณฑิตยังให้ความสำคัญในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ดนตรีและการสะท้อนถึงวัฒนธรรมจากยุคคลาสสิกจนถึงปัจจุบัน ทั้งดนตรีสำหรับวงออร์เคสตรา โอเปร่า หรือดนตรีร่วมสมัย ซึ่งการเรียนในหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตจะเน้นการเรียนดนตรีในแขนงเฉพาะทางและใช้ทักษะด้านดนตรีในลำดับขั้นที่สูงขึ้น
[divider]การประเมิน และการทำวิทยานิพนธ์[/divider]
การสอบสำหรับนักศึกษาหลักสูตรมหาบัณฑิตแบ่งออกเป็น การสอบปลายปีการศึกษาที่ 1 และปลายปีการศึกษาที่ 2 (การปฏิบัติแสดงดนตรีในสถานการณ์จริง) การสอบสำหรับนักศึกษาหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตจะได้รับการพิจารณาเป็นรายบุคคล ซึ่งจะมีการปฏิบัติแสดงดนตรีระหว่างปีการศึกษาและปลายปีการศึกษารวมอยู่ในการประเมิน
ก่อนสำเร็จการศึกษา นักศึกษาทั้งหลักสูตรมหาบัณฑิตและดุษฎีบัณฑิตต้องส่งวิทยานิพนธ์ในหัวข้อที่ได้รับการพิจารณาและอนุมัติจากบัณฑิตวิทยาลัยแล้วเท่านั้น วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาหลักสูตรมหาบัณฑิตต้องส่งให้บัณฑิตวิทยาลัยประเมินเมื่อจบปีการศึกษาสุดท้าย ส่วนวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตจะได้รับการพิจารณากำหนดการส่งงานเป็นรายบุคคล เนื่องจากเนื้อหาในการวิจัยมีความซับซ้อนมากกว่า
[divider]คณาจารย์[/divider]
การเรียนการสอนของหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการอำนวยเพลง จะอยู่ในการดูแลของอาจารย์ Douglas Bostock และเหล่าคณาจารย์จากคณะดุริยางคศาสตร์ และอาจารย์พิเศษซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญดนตรี และผู้อำนวยเพลงรับเชิญจากนานาชาติ
[divider]ขั้นตอนการสมัครและคัดเลือก[/divider]
นักศึกษาที่สนใจ จะต้องกรอกในสมัครออนไลน์โดยตรงกับคณะดุริยางคศาสตร์ ก่อนปิดรับใบสมัครก่อนต้นเดือนมกราคมของทุกปี และจะตัดเลือกผู้เข้าศึกษาจากการทดสอบการแสดงดนตรีในเดือนกุมภาพันธ์ เพื่อสมัครและลงทะเบียนนักศึกษากับบัณฑิตวิทยาลัยต่อไป ซึ่งจะประกาศวันและเวลาที่แน่นอนในการสมัครสอบคัดเลือกในเดือนกันยายนของทุกปี
ผู้สมัครควรเตรียมแบบฟอร์มการสมัครสอบ หลักฐานการสำเร็จการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาตรีหรือปริญญาโท(แล้วแต่โปรแกรมที่เลือกเรียน) จดหมายรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิทางด้านดนตรี รายการแสดงดนตรีที่เคยเข้าร่วม และรายชื่อเพลงที่เคยศึกษา รวมถึงหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการสมัครต่างๆ นอกจากนี้ผู้สมัครยังต้องบันทึกภาพและเสียงขณะกำลังอำนวยเพลงด้วย
ในการทดสอบการคัดเลือก ผู้สมัครจะต้องรับการทดสอบดังต่อไปนี้
- การอำนวยเพลงกับเปียโนและ/หรือวง (รายชื่อเพลงที่ใช้ทดสอบจะประกาศล่วงหน้า 4 เดือนก่อนการทดสอบ หรือคือสิ้นเดือนตุลาคม)
- ทดสอบทฤษฎีดนตรี
- ทดสอบเรื่องความเข้าใจในดนตรีและประวัติศาสตร์ดนตรี
- สอบสัมภาษณ์กับคณาจารย์
ผู้สมัครอาจได้รับการยกเว้นการทดสอบในบางรายวิชา หากสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาดุริยางคศาสตร์หรือเทียบเท่า โดยยื่นหลักฐานพร้อมใบสมัคร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของประธานหลักสูตร กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและบัณฑิตวิทยาลัย
เริ่มเปิดรับสมัครนักศึกษาหลักสูตรมหาบัณฑิตเพื่อเข้าศึกษาในปีการศึกษา 2561 ในวันที่ 11 กันยายน 2560 และปิดรับสมัครวันที่ 7 มกราคม 2561
การทดสอบการแสดงจะมีขึ้นในวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2561
รายชื่อเพลงที่ใช้สำหรับการทดสอบการแสดงและคาบเรียนสำหรับปีการศึกษา 2561/2562 จะประกาศสิ้นเดือนตุลาคม 2560
[divider]Douglas Bostock
วิทยากรหลักและที่ปรึกษากิตติมศักดิ์ กลุ่มวิชาเลือกการอำนวยเพลง หลักสูตรนานาชาติ [/divider]
อาจารย์ Douglas Bostock ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยเพลงหลักของ Argovia Philharmonic ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ และผู้อำนวยการเพลงของ Hallwyl Opera Festival ตั้งแต่ปี 2544 และ 2546 ตามลำดับและยังคงดำรงตำแหน่งอยู่ในปัจจุบัน อาจารย์ยังเคยดำรงตำแหน่งต่างๆ ดังนี้ ผู้อำนวยเพลงหลัก the Karlovy Vary Symphony Orchestra วาทยากรรับเชิญ Czech Chamber Philharmonic วาทยากรรับเชิญ the Munich Symphony Orchestra วาทยากรรับเชิญThe Southwest German Philharmonic ผู้อำนวยเพลงหลักและรับเชิญ Tokyo Kosei Wind Orchestra
อาจารย์เคยทำการแสดงกับวงดนตรีชั้นนำของหลายประเทศในแถบยุโรป เอเชีย และ อเมริกา เช่น The BBC Orchestras, the London Philharmonic, Royal Philharmonic, Prague Radio Symphony, Prague Symphony, Aarhus and Odense Symphony, New Japan Philharmonic, Nagoya Philharmonic, Kyoto and Sapporo Symphony, Japan Century, Orchestra Ensemble Kanazawa, Calgary Symphony, Kansas City Symphony, National Chamber Orchestra
อาจารย์ Douglas Bostock เป็นศิลปินที่มีผลงานเพลงที่ได้รับการบันทึกเสียงมากกว่า 100 แผ่น ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเชี่ยวชาญที่หลากหลายในดนตรีทุกรูปแบบ รวมทั้งยังมีผลงานที่ไม่ค่อยมีใครรู้จักและไม่ได้บันทึกไว้ก่อนหน้านี้ การบันทึกเสียงที่โด่งดังของอาจารย์คือผลงานการอำนวยเพลงวงออเคสตราอย่างเต็มรูปแบบของ Carl Nielsen และ ซิมโฟนีของ Robert Schumann ซึ่งได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางจากนานาชาติ
อาจารย์มักทุ่มเทให้กับการสอนการอำนวยเพลง และมีความสุขกับการได้ทำงานกับนักดนตรีรุ่นเยาว์ การสอนการอำนวยเพลงของอาจารย์ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางจึงมักได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแสดงที่วิทยาลัยดนตรีในยุโรปและเอเชียอยู่บ่อยครั้ง อีกทั้งได้รับเชิญเป็นอาจารย์พิเศษที่มหาลัยศิลปะโตเกียว Geidai และที่วิทยาลัยดนตรี Senzoku Gakuen ประเทศญี่ปุ่น
www.douglasbostock.net