รอบที่ 1 : Portfolio และทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- ช่วงที่ 1 : รับสมัครผ่านทาง https://www.admission.su.ac.th/
- ช่วงที่ 2 : รับสมัครผ่านทาง https://www.admission.su.ac.th/
รอบที่ 2 : ระบบโควตาผู้มีความสามารถพิเศษด้านดนตรี
- รับสมัครผ่านทาง https://www.admission.su.ac.th/
รอบที่ 4 : รับตรงอิสระ
- รับสมัครผ่านทาง https://www.admission.su.ac.th/
รอบที่ 4 รับตรงอิสระ
หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิตจำนวนที่รับเข้าศึกษา52คน แยกเป็น 6 วิชาเอก ดังนี้
วิชาเอกดนตรีคลาสสิก | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกดนตรีแจ๊ส | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ | จำนวน 2 คน |
วิชาเอกละครเพลง | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา | จำนวน 10 คน |
คุณสมบัติเฉพาะหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือ ประกาศนียบัตรอื่นที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่าและมีเกรดเฉลี่ยรวม 6 ภาคการศึกษา
- มีความรู้พื้นฐานด้านทฤษฎีดนตรี และโสตทักษะ
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิกมีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก หรือ ขับร้องสากล หรือขับร้องไทยสากล ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊สมีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีแจ๊ส/ ขับร้องแจ๊ส ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์มีความสามารถในการแต่งเพลง และสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก แจ๊ส หรือบทเพลงสมัยนิยม/ ขับร้องคลาสสิก แจ๊ส หรือบทเพลงสมัยนิยม และบันไดเสียงต่าง ๆตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกละครเพลงมีความสามารถปฏิบัติขับร้อง และมีทักษะพื้นฐานการเต้นรำ ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษามีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก แจ๊ส/ ขับร้องคลาสสิก แจ๊ส/ บทเพลงสมัยนิยมตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
วิธีคัดเลือกหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
- Portfolio (60คะแนน) จำนวนไม่เกิน 10 หน้า (ไม่รวม ปก คำนำ สารบัญ)
- สัมภาษณ์ (40คะแนน)วันที่ 2มิถุนายน 2565 ในรูปแบบออนไลน์
2.1 ผู้ผ่านการพิจารณาแฟ้มสะสมผลงาน เข้าสอบสัมภาษณ์ตามวิชาเอก ดังนี้
2.1.1 วิชาเอกดนตรีคลาสสิกเข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามที่กำหนด
2.1.2 วิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรีตามที่กำหนด
2.1.3 วิชาเอกดนตรีแจ๊สเข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามที่กำหนด
2.1.4 วิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรีตามที่กำหนด
2.1.5 วิชาเอกละครเพลงเข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามที่กำหนด โดยต้องเตรียมนักเปียโนบรรเลงประกอบ หรือแบ็คกิ้งแทร็คมาด้วย
2.1.6 วิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษาเข้าสอบสัมภาษณ์หัวข้อ ความคิดสร้างสรรค์ใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรี และทัศนคติเกี่ยวกับธุรกิจดนตรี และแสดงความสามารถทางด้านดนตรีตามที่กำหนด
เอกสารประกอบการสมัคร
1. Portfolio รายละเอียดใน Portfolioจำนวนไม่เกิน 10 หน้า (ไม่รวม ปก คำนำ สารบัญ) ขนาด A4 เป็นไฟล์ PDF ขนาดไม่เกิน 5 MB ประกอบด้วยเอกสารดังต่อไปนี้
- ใบรับรองความสามารถทางด้านดนตรี และความประพฤติ จากอาจารย์หรือผู้เกี่ยวข้องอย่างน้อย 1 ใบ
- หลักฐานทางการศึกษา Transcript หรือใบ ปพ.1 แสดงผลการเรียน (เกรดเฉลี่ยรวม 6 ภาคการศึกษา)
2. ประกาศนียบัตรการสอบวัดระดับมาตรฐานทางดนตรี
- สำหรับทุกวิชาเอก วิชาทฤษฎีดนตรีสากล และวิชาโสตทักษะ จากสถาบันดนตรี ผู้สมัครสามารถส่งประกาศนียบัตรจากสถาบันดนตรีมากกว่า 1 แห่ง โดยใบประกาศนียบัตรต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันที่สมัครสอบรายชื่อสถาบันดนตรีที่สามารถใช้ประกอบการสมัคร ได้แก่ ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากร Silpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC) เกรด 6 หรือประกาศนียบัตรของศูนย์สอบเทียบดนตรีแห่งประเทศไทย (TIME) เกรด 12 หรือประกาศนียบัตรหลักสูตรสอบของTrinityและ ABRSMเกรด 5
หมายเหตุ สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษาสามารถส่งประกาศนียบัตรของ Yamaha Grade Examination (Fundamental) เกรด 5 โดยไม่จำกัดระยะเวลาหมดอายุ - สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์วิชาวัดแววความรู้ดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากร Silpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC)เกรด 6 (ถ้ามี สามารถนำไปใช้ประกอบการสอบสัมภาษณ์)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์วิชาการแต่งเพลง ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากรSilpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC) เกรด 6
- วิชาปฏิบัติเครื่องดนตรีประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากรSilpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC)(ถ้ามี สามารถนำไปใช้ในการตัดสินผลในรอบสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์การคัดเลือกที่วิชาเอกกำหนด) ใบประกาศนียบัตรมีอายุไม่เกิน 2 ปี ถึงวันที่สมัครสอบ
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิก และวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊สปฏิบัติเครื่องดนตรีแจ๊ส/ ขับร้องแจ๊ส เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก หรือแจ๊ส/ ขับร้องคลาสสิก หรือแจ๊ส เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกละครเพลงปฏิบัติขับร้องคลาสสิก หรือ Musical Theatre and Film หรือขับร้องแจ๊ส เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษาปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก หรือแจ๊ส/ ขับร้องคลาสสิก หรือแจ๊ส เกรด 6
3. คลิปวิดีโอการแสดงดนตรี การเต้น และการสอนดนตรีตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี https://www.music.su.ac.th ให้อัปโหลดลงใน YouTube จากนั้นนำLink มาแสดง ในแฟ้มสะสมผลงาน (ตัวอย่างคลิปการแสดงดนตรี https://www.youtube.com/SilpakornMusic)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิกคลิปการแสดงดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์คลิปการแสดงดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก หรือขับร้องสากล หรือขับร้องไทยสากล ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊สคลิปการแสดงดนตรีแจ๊ส/ ขับร้องแจ๊ส ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์คลิปการแสดงดนตรี 1 บทเพลง โดยเลือกบรรเลง บทเพลงคลาสสิก แจ๊ส หรือบทเพลงสมัยนิยม และบันไดเสียงต่าง ๆ ความยาวประมาณ 7 นาที
- สำหรับวิชาเอกละครเพลงจำนวน 2 คลิปวิดีโอ ประกอบด้วย คลิปการขับร้องเพลง ความยาวไม่เกิน 5 นาที และคลิปการเต้น ไม่จำกัดแนวดนตรีความยาวไม่เกิน 1 นาที
- สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษาคลิปการแสดงดนตรีคลาสสิก แจ๊ส/ ขับร้องคลาสสิก แจ๊ส/บทเพลงสมัยนิยม ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์และวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ผลงานการประพันธ์เพลงที่ได้รับการเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ อาทิ com, Fungjai.comหรือสื่อออนไลน์ที่มีกิจกรรมในลักษณะใกล้เคียงกับเว็บไซต์กำหนด (ถ้ามี) พร้อมอธิบายประวัติความเป็นมา และความสำเร็จของผลงาน จากนั้นนำ Link มาแสดงในแฟ้มสะสมผลงาน
4. ประกาศนียบัตรการได้รับรางวัลต่าง ๆ ทางด้านดนตรี (ถ้ามี)
5. รายละเอียดการทำกิจกรรมทางดนตรี พร้อมภาพกิจกรรม (ถ้ามี)
วิธีการจัดส่งเอกสาร
- อัปโหลดไฟล์ PDF ที่ระบบรับสมัคร http://www.admission.su.ac.th หัวข้อ การส่งเอกสาร (ขนาดไฟล์ไม่เกิน 5 MB)
- กำหนดส่งภายในวันที่ 31 พฤษภาคม 2565
ทั้งนี้ ขอสงวนสิทธิ์ไม่ส่งเอกสารคืนในทุกกรณี
รอบที่ 2 โควตา (Quota ) คณะดุริยางคศาสตร์
โครงการนักเรียนผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษทางด้านดนตรี หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
จำนวนที่รับเข้าศึกษา 76 คน แยกเป็น 6 วิชาเอก ดังนี้
วิชาเอกดนตรีคลาสสิก | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกดนตรีแจ๊ส | จำนวน 15 คน |
วิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ | จำนวน 20 คน |
วิชาเอกละครเพลง | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา | จำนวน 10 คน |
คุณสมบัติเฉพาะหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า หรือเป็นผู้ที่กำลังศึกษาในหลักสูตรการศึกษา นอกโรงเรียน (สอบเทียบ) ในภาคการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตร และมีเกรดเฉลี่ยรวม 5 ภาคการศึกษา หรือ
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรอื่นที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่าและมีเกรดเฉลี่ยรวม 6 ภาคการศึกษา หรือ
- เป็นนักเรียนในโรงเรียนที่มีบันทึกข้อตกลงความร่วมมือกับทางคณะดุริยางคศาสตร์ หรือโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใน “โครงการพัฒนาทักษะนักเรียนผู้มีความสามารถพิเศษ ด้านดนตรี” หรือ
- เป็นนักเรียนที่เข้าร่วมโครงการค่ายดุริยศิลปินศิลปากร หรือโครงการเรียนดนตรีวิธีศิลปากร หรือโครงการ SU4Life หรือโครงการจัดการเรียนการสอนดนตรีสำหรับบุคคลทั่วไป
- มีความรู้พื้นฐานด้านทฤษฎีดนตรี และโสตทักษะ
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิก มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก หรือ ขับร้องสากล หรือขับร้องไทยสากล ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊ส มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีแจ๊ส/ ขับร้องแจ๊ส ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ มีความสามารถในการแต่งเพลง และสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก แจ๊ส หรือบทเพลงสมัยนิยม/ ขับร้องคลาสสิก แจ๊ส หรือบทเพลงสมัยนิยม และบันไดเสียงต่าง ๆ ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกละครเพลง มีความสามารถปฏิบัติขับร้อง และมีทักษะพื้นฐานการเต้นรำ ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก แจ๊ส/ ขับร้องคลาสสิก แจ๊ส/ บทเพลงสมัยนิยมตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี (NEW)
วิธีคัดเลือกหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
- Portfolio (60 คะแนน) จำนวนไม่เกิน 10 หน้า (ไม่รวม ปก คำนำ สารบัญ)
- สัมภาษณ์ (40 คะแนน) วันที่ 28 เมษายน 2565 ณ คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
2.1 ผู้ผ่านการพิจารณาแฟ้มสะสมผลงาน เข้าสอบสัมภาษณ์ตามวิชาเอก ดังนี้
2.2 วิชาเอกดนตรีคลาสสิก เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามที่กำหนด
2.3 วิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรีตามที่กำหนด
2.4 วิชาเอกดนตรีแจ๊ส เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามที่กำหนด
2.5 วิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามที่กำหนด
2.6 วิชาเอกละครเพลง เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามที่กำหนด โดยต้องเตรียมนักเปียโนบรรเลงประกอบ หรือแบ็คกิ้งแทร็คมาด้วย
2.7 วิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา เข้าสอบสัมภาษณ์หัวข้อ ความคิดสร้างสรรค์ใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรี และทัศนคติเกี่ยวกับธุรกิจดนตรี และแสดงความสามารถทางด้านดนตรีตามที่กำหนด
หมายเหตุ โดยให้นำเครื่องดนตรีมาด้วย ยกเว้น เปียโน มาริมบา กลองชุด หรือเครื่องดนตรีที่ทางคณะจัดเตรียมไว้ - รายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี music.su.ac.th
- เอกสารที่ต้องนำมาในวันสอบสัมภาษณ์ ได้แก่
4.1 หลักฐานทางการศึกษา Transcript หรือ ใบ ปพ.1 แสดงผลการเรียน (เกรดเฉลี่ยรวม 5 หรือ 6 ภาคการศึกษา) และแบบฟอร์มรายงานการตรวจสุขภาพและเอกซเรย์ (ฉบับจริง)
เอกสารประกอบการสมัคร
- Portfolio รายละเอียดใน Portfolio จำนวนไม่เกิน 10 หน้า (ไม่รวม ปก คำนำ สารบัญ) ขนาด A4 เป็นไฟล์ PDF ขนาดไม่เกิน 5 MB ประกอบด้วยเอกสารดังต่อไปนี้
- ใบรับรองความสามารถทางด้านดนตรี และความประพฤติ จากอาจารย์หรือผู้เกี่ยวข้องอย่างน้อย 1 ใบ >>Cilck<<
- หลักฐานทางการศึกษา Transcript หรือ ใบ ปพ.1 แสดงผลการเรียน (เกรดเฉลี่ยรวม 5 หรือ 6 ภาคการศึกษา)
ประกาศนียบัตรการสอบวัดระดับมาตรฐานทางดนตรี
- สำหรับทุกวิชาเอก วิชาทฤษฎีดนตรีสากล และวิชาโสตทักษะ จากสถาบันดนตรี ผู้สมัครสามารถส่งประกาศนียบัตรจากสถาบันดนตรีมากกว่า 1 แห่ง โดย ใบประกาศนียบัตรต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันที่สมัครสอบ รายชื่อสถาบันดนตรีที่สามารถใช้ประกอบการสมัคร ได้แก่ ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากร Silpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC) เกรด 6 หรือประกาศนียบัตรของศูนย์สอบเทียบดนตรีแห่งประเทศไทย (TIME) เกรด 12 หรือประกาศนียบัตรหลักสูตรสอบของ Trinity และ ABRSM เกรด 5
หมายเหตุ สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา สามารถส่งประกาศนียบัตรของ Yamaha Grade Examination(Fundamental) เกรด 5 โดยไม่จำกัดระยะเวลาหมดอายุ - สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ วิชาวัดแววความรู้ดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากร SilpakornMusic Craftsmanship Certificate (SMCC) เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ วิชาการแต่งเพลง ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากร Silpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC) เกรด 6
- วิชาปฏิบัติเครื่องดนตรี ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากรSilpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC) (ถ้ามี สามารถนำไปใช้ในการตัดสินผลในรอบสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์การคัดเลือกที่วิชาเอกกำหนด) ใบประกาศนียบัตรมีอายุ ไม่เกิน 2 ปี ถึงวันที่สมัครสอบ
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิก วิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ และวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา ปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊ส ปฏิบัติเครื่องดนตรีแจ๊ส/ ขับร้องแจ๊ส เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ ปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก หรือแจ๊ส/ ขับร้องคลาสสิก หรือแจ๊ส เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกละครเพลง ปฏิบัติขับร้องคลาสสิก หรือ Musical Theatre and Film หรือขับร้องแจ๊ส เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา ปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก หรือแจ๊ส/ ขับร้องคลาสสิก หรือแจ๊ส เกรด 6
หมายเหตุ สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา สามารถส่งประกาศนียบัตรของ Yamaha GradeExamination (Performance) เกรด 5 โดยไม่จำกัดระยะเวลาหมดอายุ
คลิปวิดีโอการแสดงดนตรี การเต้น และการสอนดนตรี ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรีให้อัปโหลดลงใน YouTube จากนั้นนำ Link มาแสดง ในแฟ้มสะสมผลงาน (ตัวอย่างคลิปการแสดงดนตรี https://www.youtube.com/SilpakornMusic)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิก คลิปการแสดงดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก ความยาว ไม่น้อยกว่า 7 นาที (ปฏิบัติดนตรี และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกดนตรีคลาสสิก)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ คลิปการแสดงดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก หรือขับร้องสากล หรือขับร้องไทยสากล ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที (ปฏิบัติดนตรี และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊ส คลิปการแสดงดนตรีแจ๊ส/ ขับร้องแจ๊ส ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที (ปฏิบัติดนตรี-และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกดนตรีแจ๊ส) *ใช้สำหรับรอบที่ 1 ช่วงที่ 2 เป็นต้นไป
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ คลิปการแสดงดนตรี 1 บทเพลง โดยเลือกบรรเลง บทเพลงคลาสสิก แจ๊ส หรือบทเพลงสมัยนิยม และบันไดเสียงต่าง ๆ ความยาวประมาณ 7 นาที (ปฏิบัติดนตรี และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์)
- สำหรับวิชาเอกละครเพลง จำนวน 2 คลิปวิดีโอ ประกอบด้วย คลิปการขับร้องเพลง ความยาวไม่เกิน 5 นาที และคลิปการเต้น ไม่จำกัดแนวดนตรี ความยาวไม่เกิน 1 นาที (ขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกละครเพลง)
- สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา จำนวน 2 คลิปวิดีโอ ประกอบด้วย คลิปการแสดงดนตรีคลาสสิก แจ๊ส/ ขับร้องคลาสสิก แจ๊ส/ บทเพลงสมัยนิยม ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที และคลิปการสอนดนตรีในระดับชั้นหรือหัวข้อขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้สมัคร ความยาวไม่เกิน 15 นาที (ปฏิบัติดนตรี และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ และวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ ผลงานการประพันธ์เพลงที่ได้รับการเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ อาทิ Youtube.com, Fungjai.com หรือสื่อออนไลน์ที่มีกิจกรรมในลักษณะใกล้เคียงกับเว็บไซต์กำหนด (ถ้ามี) พร้อมอธิบายประวัติความเป็นมา และความสำเร็จของผลงาน จากนั้นนำ Link มาแสดงในแฟ้มสะสมผลงาน
- ประกาศนียบัตรการได้รับรางวัลต่าง ๆ ทางด้านดนตรี (ถ้ามี)
- รายละเอียดการทำกิจกรรมทางดนตรี พร้อมภาพกิจกรรม (ถ้ามี)
การจัดส่งเอกสาร
- อัปโหลดไฟล์ PDF ที่ระบบรับสมัคร http://www.admission.su.ac.th หัวข้อ การส่งเอกสาร และที่ https://forms.gle/S3hcAJRWAFSDYd3d7 (ขนาดไฟล์ไม่เกิน 5 MB)
- กำหนดส่งภายในวันที่ 14 มีนาคม 2565
ทั้งนี้ ขอสงวนสิทธิ์ไม่ส่งเอกสารคืนในทุกกรณี
รอบ 1 ช่วงที่ 1 และ 2 แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) คณะดุริยางคศาสตร์
โครงการการรับนักศึกษาด้วยแฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
จำนวนที่รับเข้าศึกษา 50 คน แยกเป็น 6 วิชาเอก ดังนี้
วิชาเอกดนตรีคลาสสิก | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ | จำนวน 5 คน |
วิชาเอกดนตรีแจ๊ส | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ | จำนวน 10 คน |
วิชาเอกละครเพลง | จำนวน 5 คน |
วิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา | จำนวน 10 คน |
คุณสมบัติเฉพาะหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
- เป็นผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า หรือเป็นผู้ที่กำลังศึกษาในหลักสูตรการศึกษา นอกโรงเรียน (สอบเทียบ) ในภาคการศึกษาสุดท้ายของหลักสูตร และมีเกรดเฉลี่ยรวม 5 ภาคการศึกษา หรือ
- เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือประกาศนียบัตรอื่นที่กระทรวงศึกษาธิการเทียบเท่าและมีเกรดเฉลี่ยรวม 6 ภาคการศึกษา
- มีความรู้พื้นฐานด้านทฤษฎีดนตรี และโสตทักษะ
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิก และวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก หรือขับร้องสากล หรือขับร้องไทยสากล ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊ส มีความสามารถปฏิบัติเครื่องดนตรีแจ๊ส/ ขับร้องแจ๊ส ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ มีความสามารถในการแต่งเพลง และสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก แจ๊ส หรือบทเพลงสมัยนิยม/ ขับร้องคลาสสิก แจ๊ส หรือบทเพลงสมัยนิยม และบันไดเสียงต่าง ๆ ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
- สำหรับวิชาเอกละครเพลง มีความสามารถปฏิบัติขับร้อง และมีทักษะพื้นฐานการเต้นรำ ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี
วิธีคัดเลือกหลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต
- Portfolio (60 คะแนน) จำนวนไม่เกิน 10 หน้า (ไม่รวม ปก คำนำ สารบัญ)
- สัมภาษณ์ (40 คะแนน) วันที่ 27-28 พฤศจิกายน 2564 ณ คณะดุริยางคศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
- ผู้ผ่านการพิจารณาแฟ้มสะสมผลงาน เข้าสอบสัมภาษณ์ตามวิชาเอก ดังนี้
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิก เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามคลิปวิดีโอที่ส่งมา
- สำหรับสำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรีตามคลิปวิดีโอที่ส่งมา
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊ส เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามคลิปวิดีโอที่ส่งมา
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรีตามคลิปวิดีโอที่ส่งมา
- สำหรับวิชาเอกละครเพลง เข้าสอบสัมภาษณ์ และแสดงความสามารถทางด้านดนตรี ตามคลิปวิดีโอที่ส่งมา โดยต้องเตรียมนักเปียโนบรรเลงประกอบ หรือแบ็คกิ้งแทร็คมาด้วย
- สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา เข้าสอบสัมภาษณ์ หัวข้อ ความคิดสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดนตรี และทัศนคติเกี่ยวกับธุรกิจดนตรี และ แสดงความสามารถทางด้านดนตรีตามคลิปวิดีโอที่ส่งมา
หมายเหตุ โดยให้นำเครื่องดนตรีมาด้วย ยกเว้น เปียโน มาริมบา กลองชุด หรือเครื่องดนตรี ที่ทางคณะจัดเตรียมไว้
เอกสารที่ต้องนำมาในวันสอบสัมภาษณ์ ได้แก่
- หลักฐานทางการศึกษา Transcript หรือ ใบ ปพ.1 แสดงผลการเรียน (เกรดเฉลี่ยรวม 5 หรือ 6 ภาคการศึกษา) และแบบฟอร์มรายงานการตรวจสุขภาพและเอกซเรย์ (ฉบับจริง)
เอกสารประกอบการสมัคร
- Portfolio รายละเอียดใน Portfolio จำนวนไม่เกิน 10 หน้า (ไม่รวม ปก คำนำ สารบัญ) ขนาด A4 เป็นไฟล์ PDF ขนาดไม่เกิน 5 MB ประกอบด้วยเอกสารดังต่อไปนี้
- ใบรับรองความสามารถทางด้านดนตรี และความประพฤติ จากอาจารย์หรือผู้เกี่ยวข้องอย่างน้อย 1 ใบ >>Cilck<<
- หลักฐานทางการศึกษา Transcript หรือ ใบ ปพ.1 แสดงผลการเรียน (เกรดเฉลี่ยรวม 5 หรือ 6 ภาคการศึกษา)
ประกาศนียบัตรการสอบวัดระดับมาตรฐานทางดนตรี
- สำหรับทุกวิชาเอก วิชาทฤษฎีดนตรีสากล และวิชาโสตทักษะ จากสถาบันดนตรี ผู้สมัครสามารถส่งประกาศนียบัตรจากสถาบันดนตรีมากกว่า 1 แห่ง โดย ใบประกาศนียบัตรต้องมีอายุไม่เกิน 2 ปี นับถึงวันที่สมัครสอบ รายชื่อสถาบันดนตรีที่สามารถใช้ประกอบการสมัคร ได้แก่ ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากร Silpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC) เกรด 6 หรือประกาศนียบัตรของศูนย์สอบเทียบดนตรีแห่งประเทศไทย (TIME) เกรด 12 หรือประกาศนียบัตรหลักสูตรสอบของ Trinity และ ABRSM เกรด 5
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ วิชาวัดแววความรู้ดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากร SilpakornMusic Craftsmanship Certificate (SMCC) เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ วิชาการแต่งเพลง ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากร Silpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC) เกรด 6
วิชาปฏิบัติเครื่องดนตรี ประกาศนียบัตรความถนัดด้านดนตรีวิธีศิลปากรSilpakorn Music Craftsmanship Certificate (SMCC) (ถ้ามี สามารถนำไปใช้ในการตัดสินผลในรอบสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์การคัดเลือกที่วิชาเอกกำหนด) ใบประกาศนียบัตรมีอายุ ไม่เกิน 2 ปี ถึงวันที่สมัครสอบ
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิก วิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ และวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา ปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊ส ปฏิบัติเครื่องดนตรีแจ๊ส/ ขับร้องแจ๊ส เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ ปฏิบัติเครื่องดนตรีคลาสสิก หรือแจ๊ส/ ขับร้องคลาสสิก หรือแจ๊ส เกรด 6
- สำหรับวิชาเอกละครเพลง ปฏิบัติขับร้องคลาสสิก หรือ Musical Theatre and Film หรือขับร้องแจ๊ส เกรด 6
คลิปวิดีโอการแสดงดนตรี การเต้น และการสอนดนตรี ตามที่กำหนดในรายละเอียดการทดสอบความสามารถทางด้านดนตรี https://www.music.su.ac.th ให้อัปโหลดลงใน YouTube จากนั้นนำ Link มาแสดง ในแฟ้มสะสมผลงาน (ตัวอย่างคลิปการแสดงดนตรี https://www.youtube.com/SilpakornMusic)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีคลาสสิก คลิปการแสดงดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก ความยาว ไม่น้อยกว่า 7 นาที (ปฏิบัติดนตรี และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกดนตรีคลาสสิก)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ คลิปการแสดงดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก หรือขับร้องสากล หรือขับร้องไทยสากล ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที (ปฏิบัติดนตรี และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีแจ๊ส คลิปการแสดงดนตรีแจ๊ส/ ขับร้องแจ๊ส ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที (ปฏิบัติดนตรี-และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกดนตรีแจ๊ส) *ใช้สำหรับรอบที่ 1 ช่วงที่ 2 เป็นต้นไป
- สำหรับวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ คลิปการแสดงดนตรี 1 บทเพลง โดยเลือกบรรเลง บทเพลงคลาสสิก แจ๊ส หรือบทเพลงสมัยนิยม และบันไดเสียงต่าง ๆ ความยาวประมาณ 7 นาที (ปฏิบัติดนตรี และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์)
- สำหรับวิชาเอกละครเพลง จำนวน 2 คลิปวิดีโอ ประกอบด้วย คลิปการขับร้องเพลง ความยาวไม่เกิน 5 นาที และคลิปการเต้น ไม่จำกัดแนวดนตรี ความยาวไม่เกิน 1 นาที (ขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกละครเพลง)
- สำหรับวิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา จำนวน 2 คลิปวิดีโอ ประกอบด้วย คลิปการแสดงดนตรีคลาสสิก/ ขับร้องคลาสสิก ความยาวไม่น้อยกว่า 7 นาที และคลิป การสอนดนตรีในระดับชั้นหรือหัวข้อขึ้นอยู่กับความสนใจของผู้สมัคร ความยาวไม่เกิน 15 นาที (ปฏิบัติดนตรี และขับร้องพื้นฐาน วิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา)
- สำหรับวิชาเอกดนตรีและสื่อสร้างสรรค์ และวิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์ ผลงานการประพันธ์เพลงที่ได้รับการเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ อาทิ com,Fungjai.com หรือสื่อออนไลน์ที่มีกิจกรรมในลักษณะใกล้เคียงกับเว็บไซต์กำหนด (ถ้ามี) พร้อมอธิบายประวัติความเป็นมา และความสำเร็จของผลงาน จากนั้นนำ Link มาแสดงในแฟ้มสะสมผลงาน
- ประกาศนียบัตรการได้รับรางวัลต่าง ๆ ทางด้านดนตรี (ถ้ามี)
- รายละเอียดการทำกิจกรรมทางดนตรี พร้อมภาพกิจกรรม (ถ้ามี)
การจัดส่งเอกสาร
- อัปโหลดไฟล์ PDF ที่ระบบรับสมัคร http://www.admission.su.ac.th หัวข้อ การส่งเอกสาร และที่ https://forms.gle/S3hcAJRWAFSDYd3d7 (ขนาดไฟล์ไม่เกิน 5 MB)
- กำหนดส่งภายในวันที่ 8 พฤศจิกายน 2564
ทั้งนี้ ขอสงวนสิทธิ์ไม่ส่งเอกสารคืนในทุกกรณี
ตัวอย่างการทำยื่นพอร์ทโฟลิโอ
ตัวอย่างการบันทึกวีดีโอสำหรับการยื่นพอร์ทโฟลิโอ (Youtube)
วิชาเอกดนตรีแจ๊ส
วิชาเอกดนตรีคลาสสิก
วิชาเอกดนตรีเชิงพาณิชย์
วิชาเอกผู้ประกอบการดนตรีศึกษา